ข้อมูลทรัพยากร

Ratings :
0
No votes yet

เทคนิคการซ่อมเครื่องรับโทรทัศน์ 8.
ประเภททรัพยากร : หนังสือเล่ม
ชั้นเก็บ : ตู้4ชั้น6ฝั่งขวา
หมวด : 600
เลขหมู่หนังสือ : 621.3887
สำนักพิมพ์ : สถาบันอิเล็กทรอนิกส์กรุงเทพรังสิต.
ผู้แต่ง : เจน สงสมพันธุ์.
ยอดคงเหลือ : 3


เนื้อหาย่อ : หมอประเวศ วะสี พูดถึงสังคมไทยที่เหมือนไก่ในเข่งที่กำลังจิกตีกันเอง โดยหารู้ไม่ว่าทั้งเข่งนั้นกำลัง ถูกส่งไปยังโรงเชือด เมื่อ อร่าวินด์ อดิก นักเขียนจากเมืองเซนน อินเดีย เขียนถึงคนในบังกาลอร์ เมืองที่เป็น ศูนย์เอาต์ซอร์สอันเป็นฐานรากการบริการข้อมูลให้กับอเมริกา อติกกล่าวถึงคนอินเดียว่าเป็นไก่ในกรงในแบบ เดียวกับที่หมอประเวศเปรียบเทียบในสังคมไทย แต่สิ่งหนึ่งที่อดิกชี้ให้เห็นต่างไปจากหมอประเวศคือมุมมองที่ไม่ฉายเน้นไปที่การเมือง เขามองข้ามการ เมืองออกไป มองว่าสิ่งที่เป็นปัญหาของคนเหล่านี้มาจากสังคมการศึกษา แม้โลกกำลังเปลี่ยนไปสู่สังคมไร้ พรมแดน แต่คนรุ่นใหม่ก็มิได้สนใจจะปฏิวัติตัวเอง สนใจก็แต่โทรทัศน์ สนใจแต่จะเฝ้ามองเกมส์การเล่นคริก เก็ต (ซึ่งเป็นกีฬายอดนิยมของอินเดีย) โดยสะท้อนด้วยนวนิยายเรื่อง "White Tiger" เช่นเดียวกับคนที่พยายาม ทำตัวทันสมัยในประเทศไทย ซึ่งไม่ได้สนใจเรื่องใด 1 อย่างลึกซึ้ง แต่พวกเขาสนใจเกมส์ฟุตบอลอังกฤษ ในทุกค่ำคืน จนกลายเป็นมธุรสวาจาปัจจุสมัย ที่หลุดออกมาเป็นคำแรกของแต่ละเช้าเมื่อพบหน้ากัน เป็นที่รวมของคนลักเล็กขโมยน้อย แต่นั่นเฉพาะแต่เงินหรือสิ่งของราคาไม่มาก ใครเอาเงินโผล่ออกมาห้ารูปี งที่บังกาลร์รอยู่ได้ท่ามกลางคามเจริญคือความซื่อสัตย์ของคนชั้นล่าง อินเดียเป็นนักฉั สิบปี อาจจะหาย แต่หากเป็นงินเดือนฟ้อนโต บรรจุไว้ในกระเป๋าเจมส์บอนด์ เม้จะฝากแท็กซี่ไปยังปลายทาง มันจะอยู่ครบถ้วน เพราะอินเดียมีสายสะดือแบบนี้ และสายสะดือแบบนี้แหละที่ทำให้มหาตมะคานเขียน คาถาหัวใจแห่งการบริการว่า ลูกค้ามิใช่ผู้มาสร้างความเดือดร้อน แต่เป็นผู้ให้โอกาสแก่เรา.. สอดคล้องกับที่ ดอกเตอร์เจ.เอ็ม. คุตเชีย นักเขียนรางวัลโนเบลปี 2003 บอกว่าคานมิได้สร้างอินเดีย เพราะคานธีมิได้มีการ ศึกษามาแบบอินเดีย แต่อินเดียได้สร้างคนแบบคานขึ้นมา สร้างให้คานธีรู้จักความยากแค้นเมื่อเขาต้องไป เป็นทนายความให้คนอินเดียในแอฟริกา เห็นการเอารัดเอาเปรียบโดยเฉพาะการเอาเปรียบจากอังกฤษ นั่น แหละเป็นที่มาของการหาทางออกจากกรงของไก่ที่ชื่อคานธี