ข้อมูลทรัพยากร

Ratings :
0
No votes yet

เทคโนโลยีถนนยางมะตอย.
ประเภททรัพยากร : หนังสือเล่ม
ชั้นเก็บ : ตู้ 5 ชั้น 5 ฝั่งขวา
หมวด : 600
เลขหมู่หนังสือ : 625.85
สำนักพิมพ์ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ผู้แต่ง : วัชรินทร์ วิทยกุล.
ยอดคงเหลือ : 1


เนื้อหาย่อ : ผู้เขียนจัดทำตำราเรื่อง เทคโนโลยีถนนยางมะตอย (Asphalt Road Technology) เพื่อ ะกอบการเรียนการสอนทั้งระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ผู้เขียนเป็นอาจารย์ประจำ ณ ภาค ชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทำหน้าที่สอนวิชาเกี่ยวกับ าวิศวกรรมขนส่ง วิชาในความรับผิดชอบต้องสอนอยู่เสมอตั้งแต่เริ่มรับราชการ ได้แก่ วิชา มการทาง (Highway Engineering) วัสดุการทาง (Highway Materials) ปฏิบัติการวัสดุการทาง : (Advanced Highway Material Laboratory) และการวิเคราะห์ทางด้านเศรษฐศาสตร์สำหรับวิศวกรรม Economic Analysis for Transportation Engineering ผู้เขียนสอนวิชาเหล่านี้ที่ภาควิชาวิศวกรรม ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และได้รับเชิญเป็นอาจารย์พิเศษที่สถาบัน "าอื่นอีกหลายแห่งในประเทศไทย ทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด เริ่มจากปี พ.ศ.๒๕๒๕ จวบจนถึงปีปัจจุบัน พ.ศ.๒๕ ๔๙ และคงทำหน้าที่สอนวิชาเหล่านี้ต่อไปอีกเป็นเวลาหลาย อนาคต จากประสบการณ์ด้านการสอนและวิจัยเป็นเวลาร่วม ๒๔ ปี ก็มีความคิดจัดทำตำรา ษาไทยเกี่ยวกับงานที่ตนเองถนัดเพื่อเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมในการพัฒนาประเทศชาติให้เจริญ าต่อไป จึงเขียนตำราเล่มนี้ด้วยความสามารถส่วนตัวที่มีอยู่และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็น ษาไทยที่ทรงคุณค่าเล่มหนึ่งของประเทศไทย ผู้อ่านทั้งหลายทราบกันดีอยู่แล้วว่าถนนเป็นเส้นทางขนส่งทางบกที่สำคัญสำหรับ ติบนโลกนี้มาเป็นเวลานานแล้วเมื่อพิจารณาตามลักษณะโครงสร้างก็สามารถแบ่งถนนออกได้ 2 ประเภท คือ (๑) ประเภทผิวทางคงรูป (Rigid Pavement ได้แก่ ถนนที่มีผิวทางชนิดปอร์ตแลนด์ ณ์ส์คอนกรีต (๒) ประเภทผิวทางยืดหยุ่น (Flexible Pavement ได้แก่ ถนนที่มีผิวทางชนิดยางมะตอย ในประเทศไทยมีโครงสร้างทั้งสองประเภทโดยมากนิยมก่อสร้างถนนผิวทางปอร์ตแลนด์ มนล์คอนกรีตในเขตตัวเมืองย่านชุมชนแต่นิยมก่อสร้างถนนผิวทางยางมะตอยตามเขตนอกเมือง โดย #ในประเทศไทยมักสร้างถนนประเภททางหลวง (Highway) ตามเขตนอกเมือง จึงเห็นได้ว่าถนนส่วน ระเทศไทยมีผิวทางประเภทยืดหยุ่นที่ใช้ยางมะตอย ยางมะตอย มีชื่อเรียกทับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า แอสฟิลต์ (Asphalt จัดเป็นวัสดุจำพวก (Butiminous Materials เพราะประกอบด้วย บิทูเมน (Butimen) เป็นส่วนใหญ่ ยางมะตอยที่ใช้ แปะทศไทยเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปีโตรเลียมเหมือนกับแอสฟัลต์ที่ใช้ในประเทศแถบทวีป ณริกา ส่วนการก่อสร้างถนนในทวีปยุโรป บางประเทศใช้วัสดุจำพวกบิทูมินัสประเภททาร์ (Tar) ซึ่ง อินผลิตภัณฑ์จากการกลั่นถ่านหิน (Coal) จึงเรียกตัวเชื่อมประสานชนิดนี้ว่า บิทูเมน เพราะส่วนใหญ่