ข้อมูลทรัพยากร

การบริหารของบริษัทญี่ปุ่น : ประสบการณ์จากนักบริหารระดับกลาง.
ประเภททรัพยากร : หนังสือเล่ม
ชั้นเก็บ : ตู้6ชั้น1ฝั่งขวา
หมวด : 600
เลขหมู่หนังสือ : 658
สำนักพิมพ์ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น).
ผู้แต่ง : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น).
ยอดคงเหลือ : 1
เนื้อหาย่อ : การที่เศรษฐกิจของญี่ปุ่นสามารถผ่านพ้นมรสุมภาวะวิกฤติกาลต่าง ๆ เช่น วิกฤติกาล
น้ำมัน และภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโถกได้อย่างต่อนข้างคีเลิศและสินค้ต่ง ๆ ของญี่ปุ่น
สามารถส่งออกไปตีตลาดในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกได้อย่างมากมายนั้น ยังผลทำให้ผู้ตนในวงการ
ธุรกิจทั้งกาครัฐบาณเะภาตอกชนต่งก็พิ่มความสนใขในความสำร็จของญี่ปุ่น และมีความประสงค์
อย่างแรงกล้ำที่จะเรียนรู้ประสบการณ์จากญี่ปุ่น จนกลายเป็นสิ่งจำเป็นอย่างหนึ่งที่ขาคเสียไม่ได้
สำหรับผู้ที่ต้องการจะพัฒนาและแสวงห งหาความเป็นเถิศในอนากต
ความสนใจในระยะหลัง ๆ นี้ มักจะมีจุดมุ่งน้นที่การแสวงหาความลับที่ช่วยทำให้การ
บริหารธุรกิจของบริษัทญี่ปุ่นประสบความสำเร็จด้วยคื จนทำให้หนังสือเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ
แบบญี่ปุ่นมีพิมพ์ผยแพร่ออกมามากมายทั้งในต่างประเทศและในญี่ปุ่นเองด้วย
อย่างไรก็ตาม หนังสือเหล่านี้ส่วนใหญ่จะเขียนขึ้นโคยนักวิชาการและนักวิจารณ์ค้านธุรกิจ
เป็นหลัก หนังสือเกี่ยวกับการบริหารแบบญี่ปุ่นที่เขียนโดยผู้บริหารระดับกลางนั้นก็มีน้อยมาก
สำหรับหนังสือเล่มนี้ ถ้ำจะพูดถึงจุดเด่นของหนังสือก็คือว่า เป็นหนังสือเกี่ยวกับการบริหาร
ธุรกิจแบบญี่ปุ่นเล่มแรกที่เขียนขึ้นได้ไดยทีมผู้ปฏิบัติงานโดยตรงและเป็นกำลังสำคัญในการคำเนิน
งานของบริษัทธุรกิจในญี่ปุ่นในปัจุบันซึ่งประกอบขึ้นด้วยผู้บริหารระดับกลาง ผู้นำของสหภาพ
แรงงาน ผู้เชี่ยวชาญค้นแรงานสัมพันช์ และการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน ตลอดขนทั้ง
นักวิชาการจากมหาวิทยาลัย รวมทั้งหมด 18 คน เป็นคณะกรรมการเรียบเรียงและเขียนดันฉบับ
สำหรับหนังสือเล่มนี้ขึ้นมา ไดยพยายามให้กพที่ชัดจนแตะเท้จริงของการบริทารธุรกินเบบญี่ปุ่นแก่
ผู้ตนใจโดยทั่วไป
ดังนั้น การแปหนังสือเมนี้เปืนภาพกไทย โดยเปลจากคั้นฉบับกาพาญี่ปุ่น จึงเป็นการถ่าย
ทอดภพสตให้แก่ผู้อำานชาวไทยได้รู้เห็นและเข้าใขกี่ยวกับการบริหารธุรกิจเบบญี่ปุ่นได้อย่างเข่มซัต
ผู้แปลจึงหวังว่หนังสือเล่มนี้คงจะเป็นประโชชน์และเป็นส่วนช่วยเสริมสร้างความ
ก้วหน้าในวงการธุรกิงของไทยต่อไปไนอนาคตด้วย
ในการชัดพิมพ์หนังสือเมนี้ ผู้เปลใคร่ขรขอบคุณข้าหน้าที่ของศูนย์ญี่ปุ่นศึกพา มวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์ ที่ช่วยพิมพ์ร่างตันฉบับเปลภาพาไทยขอขอบคุณคุณวีรพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์,
คุณสมชาย ศิริวิชยกุล, คุณชัยฉลอง อัศวสนา ที่กรุณช่วยอ่ามและปรับปรุงตำนวนเปลภาษาไทย
ให้เหมาะสมมากขึ้น และขอขอบคุณ คุณศราวัณ พรรณศิริ หัวหน้งานโครงการวารสาร คุณ
ตุริน นพกิจ คุณนนทศาสตร์ ประชุมธนสารและเข้าหน้าที่ของสมาคมส่งเสริมทคโนโลยื่ (ไทย-