ข้อมูลทรัพยากร

การออกแบบจิ๊กและฟิกเจอร์.
ประเภททรัพยากร : หนังสือเล่ม
ชั้นเก็บ : ตู้ 5 ชั้น 2 ฝั่งขวา
หมวด : 600
เลขหมู่หนังสือ : 621.992
สำนักพิมพ์ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี.
ผู้แต่ง : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตธนบุรี.
ยอดคงเหลือ : 1
เนื้อหาย่อ : บริมาณความต้องก ารสินค้าทางด้านอุตสาหกร รมทั่วโลก ใด้ทวีสูงขึ้นใน
อัตราที่รวดเร็วมาก ดังนั้นเพื่อที่จะทำให้ได้ปริมาณตามความต้องการนี้ โรงงาน
อุตสาหกรรมต่าง ๆ จึงได้เสวงหาวิธีการผลิตใหม่ ๆ ในการที่จะผลิตชิ้นส่วนให้ได้
มากและรวดเร็วทันต่อความต้องการนั้น ๆ ในการปรับป รุงเปลี่ยนเปลงเหล่านี้วิธี
การใหม่ ๆ ได้ถูกนำมาใช้อย่างมากมาย ในการทำการผลิตชิ้นส่วนต่าง ๆ ชิ้นงาน
จะต้องถูกยึดจับไว้ในตำแหน่งที่ถูกต้องในการผลิต การพิจารณาว่าทำอย่างไรจึงจะ
ใด้ผลสำเร็จที่ดีที่สุด ตัวยึดจับชิ้นงานจะต้องถูกออกเแบบมาให้ใช้ได้พอเหมาะกับชิ้นงาน
แต่ละชิ้นซึ่งมีความแตกต่างกันออกไป รวมทั้งสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการผลิตอีกมาก
การนำจิ๊กและฟิกข์เจอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรมจะ เป็นการช่วยให้การ
ผลิตชิ้นส่วนต่าง ๆ มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นอย่างมากมาย อีกทั้งยังเป็นการลดต้นทุน
การผลิตอีกด้วย ซึ่งอาจจะกล่าวได้ว่าในโรงงานอุตสาหกรรมไม่ว่าชนาดเ ล็กหรือใหญ่
จะต้องมีจิ๊กและฟิกซ์เจอร์ช่วยในการผลิตชิ้นงานต่าง ๆ ในประเทศที่เป็นผู้นำในด้าน
อุตสาหกรรรม เช่น สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ได้มีการพัฒมาด้านจิ๊กและพิก เจอร์
อย่างมาก อีกทั้งเอกสารและตำราในด้านนี้ก็มีผู้แต่งไว้อย่างมาก เช่นกัน แต่สำหรับ
ประเทศไทยของเรานั้นมีตำราทางด้านจิ๊กและฟิกซ์เจอร์น้อยมาก ทั้ง ๆ ที่วิชานี้มีความ
ลำคัญต่องานด้านอุตสาหกรรมอย่างมาก ผู้เรียบเรียงหนังสือเล่มนี้ได้มีโอกาสไปฝึกอบรม
ละดูงานทางด้านจิ๊ก และฟิกซ์เจอร์ ณ ประเทสญี่ปุ่น จึงได้เรียบเรียงหนังสือเล่มนี้
ธิ์ โดยอาศัยความรู้เดิมและประสบการณ์ที่ได้ไปพบ เห็นมา เพื่อถ่ายหอดสู่นักศึกษาและ
ล้อนใจทุกท่าน และเนื่องจากเป็นการพิมพ์ครั้งแรกจึงอาจมีข้อผิตพลาดอยู่บ้าง ผู้
เรียบ เรียงจึงขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย