ข้อมูลทรัพยากร

Ratings :
0
No votes yet

เทคโนโลยีโทรคมนาคม.
ประเภททรัพยากร : หนังสือเล่ม
ชั้นเก็บ : ตู้3ชั้น6ฝั่งซ้าย
หมวด : 600
เลขหมู่หนังสือ : 621.38
สำนักพิมพ์ : ดวงกมล.
ผู้แต่ง : โกศล เพ็ชร์สุวรรณ์.
ยอดคงเหลือ : 4


เนื้อหาย่อ : ถ้าเปรียบระบบถนนของประเทศว่าเหมือนกับระบบเส้นเลือดในร่างกายของเราแล้วระบบโทรคมนาคมก็จะเปรียบ เสมือนระบบเส้นประสาท ที่รับความรู้สึกจากทุกส่วนของร่างกายให้กับสมอง และนำคำสั่งไปให้ส่วนของร่างกายปฏิ - บัติตอบสนองต่อความรู้สึกเหล่านั้นโดยฉับพลัน จึงเห็นได้ว่าการโทรคมนาคมที่ดีเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับประเทศชาติเป็น อย่างยิ่ง เพราะถ้าส่วนใดของประเทศไม่มีระบบโทรคมนาคมแล้วก็เหมือนกับว่าเป็นอัมพาต ชื่งนอกจากจะทำให้ส่วน นั้นไม่มีประโชชน์แล้ว ยังเป็นภาระและอันตรายต่อส่วนนของประเทศอีกด้วย ดังเราจะเห็นได้ว่าประเทศที่พัฒนา แล้วจะเป็นประเทศที่มีการโทรคมนาคมดีแล้วทั้งสิ้น หรือจะกล่ววได้ว่าความเจริญของประเทศจะเกิดขั้นได้จากความ เจริญทางด้านโทรคมนาคมของประเทศนั้น หนังสือเล่มนี้จะกล่าวถึงระบบโทรคมนาคมที่ใช้กันอยู่โดยทั่วไปในประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในประเทศญี่ปุ่น ผู้เขียนภาคภาษาไทยตระหนักดีว่าในหลายตอนด้วยกันควรจะกล่าวถึงรายละเอียดของระบบที่ใช้ใน ประเทศไทยไว้ด้วย แต่ผู้เขียนไม่สามารถรวบรวมมาได้ทันในการพิมพ์ครั้งแรกนี้ คิดว่าในการพิมพ์ครั้งต่อไป จะพยา ยามนำข้อมูลเหล่านี้มาเพิ่มเดิมให้สมบูรณีขึ้น หนังสือเล่มนี้อยู่ในระดับที่ผู้อ่านทั่วไปอ่านเข้าใจได้ไม่ยาก ผู้เขียนจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็น นช่วยกระตุ้นให้พวกเราพยายามพัฒนาสิ่งเหล่านั้ขึ้นมาเองในประเทศของเราบ้าง เราจะเห็นได้ ความเจริญอย่างมั่นคงแล้ว จะเป็นประเทศที่มีการพัฒนาผลิตสิ่งต่าง ๆ ขึ้นใช้ภายในประเทศด้วยตนเองแทบทั้งสิ้น ในการจัดทำหนังสือเล่มนี้ สิ่งที่ยากที่สุดก็คือการหาคำเทดนิคในภายาไทย ผู้เขียนเองก็เหมือนกับคนไทยที่ เรียนวิศวกรรมศาสตร์ส่วนใหญ่ที่ใช้ดำราภาษาอังกฤษกันมาตลอด เพราะเราแทบจะไม่มีตำราภาษาไทยทางวิศวกรรม ศาสตร์เลย จึงคุ้นเคยแต่คำเทคนิคที่เป็นภามาอังกฤมโดยตรง ในหนังสือเล่มนี้ผู้เขียนจะไม่พยายามสร้างศัพท์ภาษา ไทยขึ้นมาใหม่ แต่จะใช้ดำภายาไทยง่าย ๆ และมีต้นศัพท์ภายาอังกฤษอยู่ในวงเล็บกำกับไว้ด้วยเสมอ นอกจากบาง คำที่เมื่อเขียนเป็นภาษาไทยแล้วความหมายอาจจะเปลี่ยนไปหรือสับสนกับคำอื่น จึงจะเขียนภาษาไทยทับศัพท์ภาษา อังกฤษไปเลย แต่อย่างไรก็ตามผู้เขียนเข้าใจว่า จะมีคำเทคนิดจำนวนไม่น้อยในหนังสือเล่มนี้ที่ไม่ตรงกันกับที่ ใช้ ตามหน่วยงานต่าง ๆ ดังนั้นหากผู้อ่านจะได้กรุณาแนะนำเกี่ยวกับคำเทคนิคภาษาไทยที่ใช้กันในหน่วยงานนั้นให้ผู้เขียน ด้วยก็จะขอบคุณยิ่ง เพื่อจะแก้ไขให้ถูกต้องยิ่งขึ้นในการพิมพัครั้งต่อไป