ข้อมูลทรัพยากร
![](http://ntc.vlcloud.net/sites/default/files/686.2316%20%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B9%8C.jpg)
เทคนิคและตลาดการพิมพ์ซิลค์สกรีน.
ประเภททรัพยากร : หนังสือเล่ม
ชั้นเก็บ : ตู้7ชั้น4ฝั่งขวา
หมวด : 600
เลขหมู่หนังสือ : 686.2316
สำนักพิมพ์ : โมดิชการพิมพ์.
ผู้แต่ง : ปิยะ วงกิจพิมพ์.
ยอดคงเหลือ : 10
เนื้อหาย่อ : การพิมพ์สกรีน (Screen Printing
Process) ก็คือการพิมพ์ซิลค์สกรีน (Silk Screen
Printing Process) ซึ่งในปัจจุบัน สากนิยมจะใช้ดำ
ว่า การพิมพ์สกรีนเพราะอุตลาหกรรมทางด้านนี้มิ
ได้นำไยไหมมาทอเป็นผ้าทำแม่พิมพ์ ประกอบกับ
สถาบันการพิมพ์ที่มีอยู่ เช่น Screen Printing
Association International (SPAI) : สมาคมการ
พิมพ์สกรีนนานาชาติ ในสหรัฐอเมริกาที่มีสมาชิก
อยู่ทั่วโลท,U.S. School of Screen Printing สถาบัน
ศึกษาการพิมพ์สกรีนในสหรัฐอเมริกาเป็นต้น ต่างก็
ใช้คำว่า Screen Printing แต่ในวงการพิมพ์ของไทย
ยังใช้ดำว่า ซิลค์สกรีน เนื่องจากคำว่าสกรีน ไปซ้ำ
กับคำเรียกอื่นในอุตสาหกรรมการพิมพ์ เช่น สกรีน
ในกระบวนการทำต้นแบบที่จะไปสร้างแม่พิมพ์ใน
ระบบการพิมพ์ต่าง ๆ ที่หมายถึงลายภาพของตันแบบ
ชนิดหนึ่ง เม็ดสกรีน (Dot) ในกระบวนการทำต้น
แบบ หมายถึง จำนวนจุดสีดำที่มีมากน้อยในฟิล์ม
ดันแบบที่แยกสีสีเพื่อใช้ในงานพิมพ์ขุคสี่สี (Pro-
cess Color Printing) สกรีน (Screen) ในเรื่องของ
ภาพหมายถึง จอภาพของทีวี, คอมพิวเตอร์ หรือ
จอภาพยนตร์ เป็นต้น ผู้เรียบเรียงขอใช้ภาษาไทย
เป็นคำว่า ซิลค์สกรีน เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนของ
คำดังกล่าวและตามความเคยชินของภาษาไทยใน
ตลาดการพิมพ์บ้านเรา และขอใช้ภาษาอังกฤษ เป็น
คำว่า Screen Printing เพื่อความถูกต้องตามหลัก
สากลนิยม