ข้อมูลทรัพยากร
![](http://ntc.vlcloud.net/sites/default/files/721.04454%20%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%9C%E0%B9%89%E0%B8%B2.jpg)
บันไดพับผ้าคอนกรีตเสริมเหล็ก.
ประเภททรัพยากร : หนังสือเล่ม
ชั้นเก็บ : ตู้7ชั้น4ฝั่งซ้าย
หมวด : 700
เลขหมู่หนังสือ : 721.04454
สำนักพิมพ์ : ม.ป.พ.
ผู้แต่ง : สุทัศน์ พรอานุภาพกุล.
ยอดคงเหลือ : 5
เนื้อหาย่อ : เรื่อง บันไดโค้งเวียนคอนกรีตเสริมเหล็ก ว่า การ
คำนวมปันไดที่ทำด้วยคอนกรีต เสริม เหล็กรูปทรงต่าง ๆ นั้น วิศวกรในขณะที่ยังเป็นนิสิตนักศึกษา
นั้นมักจะไม่ได้เพ่งเล็งถึงวิธีการวิเคราะห์มากนัก และทั้งผู้บรรยายในวิชาคอนกรีต เสริมเหล็ก
ก็มิได้ให้ข้อมูลที่ละ เอียด เพียงพอในการวิเคราะห์ปันได คอนกรีต เสริมเหล็กรูปทรงต่าง ๆ นิสิต
นักศึกษา จำเป็นต้องค้นคว้าและวิเคราะห์เอาเอง ซึ่งบางครั้งการวิเคราะห์นั้น ๆ ทำให้ต้อง
เสียเวลามาก ดังนั้นจึงมักจะนิยมหันมาใช้การวิเคราะห์ง่าย ๆ โดยให้บันไดนั้น ๆ มีลักษณะ
เป็น Beam หรือ S1ab เป็นส่วนใหญ่ ตามหลักการก็ไม่ผิดอะไรแต่ลักษณะของบันไดบางประเภท
มีพฤติกรรมที่แตกต่างออกไปจากนั้นอีก บางสิ่งบางอย่างที่กล่าวนี้ ถ้าจะวิเคราะห์เป็นลักษณะของ
Beam หรือ S1ab บางครั้งอาจจะไม่ปังเกิดขึ้นหรือ เกิดขึ้นแต่อยู่ผิดที่ เช่น จุด Inflection
point เป็นต้น ทำให้การเสริมเหล็กบันไดผิดจากความจริงไป ทำให้บันไดถึงกับแตกร้าวได้
ดังจะพบได้ทั่ว ไปในรอยแตกร้าวที่ เกิดขึ้นกับขันไดพับผ้าคอนกรีต เสริมเหล็กที่ได้รับการสร้าง
ขึ้นแล้ว และบางบันไดรอยแตกร้าวนั้นน่วิตกเพราะอยู่ในขั้นวิกฤติแล้วในทางโครงสร้าง ด้วย
เหตุนี้ทางผู้เขียนจึงเกิดความคิดว่าการวิเคราะห์ปันไดรูปทรงต่าง ๆ อันมีหลักเกณซ์ที่พอจะ เป็น
ที่เชื่อมั่นแก่วิศวกรน่าจะได้รับการรวบรวมและ เผยแพร่ ดังนั้นได้กล่าวแล้วว่าผู้เขียนได้รวบรวม
จากบทความ, Journals, Text book, วิทยานิพนธ์ ไว้เป็น ๓ ชุดด้วยกัน คือ บันไดโค้ง
เวียนคอนกรีต เสริม เหล็ก , บันไดพับผ้าคอนกรีต เสริมเหล็ก และบันไดซานกลอยคอนกรีต เสริม เหล็ก
สำหรับเล่มที่ท่ านถืออยู่นี้ เป็นบันไดพับผ้าคอนกรีต เสริมเหล็ก ซึ่งส่วนใหญ่ได้รวบรวมจากผลงาน
วิทยานิพนธ์ของนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกล้า วิทยา เขตธนบุรี ในระดับปริญญาตรี
ปีการศึกษา ๒๕๑๕ เป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นอาจจะมีสิ่งผิดพลาด หรือไม่สมบูรณ์เกิดขึ้นได้ และทาง
ผู้เขียนขอขอบคุณนักศึกษาขั้นปีที่ ๕ ปีการศึศษา 14๑< ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ผู้ได้ทำวิทยานิพนธ์
เหล่านี้ และขอขอบคุณอาจารย์ มล. เพิ่มศรี ลดาวัลย์ ผู้ที่ทำหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาโดยตรง
ต่อวิทยานิพนธ์ เหล่านี้